SEO ( Search Engine Optimization ) ฉบับเข้าใจง่ายๆ
ทำไมเราต้องทำ SEO ? คำตอบง่ายๆ ก็คือเราอยากให้ website ของเรา search เจอใน google ในอันดับแรก เพื่อให้คนที่ค้นหาเจอเราได้ก่อนคู่แข่ง
เราต้องเข้าใจกันก่อนว่า google จะมี program ( web crawler ) มาคอยทำการเก็บข้อมูล website บน internet เพื่อไปทำ data index ซึ่งทำให้ผลการค้นหา ( search result ) ตรงกับคำค้นหาของเรา

สมมติว่าเราค้นหาคำว่า “รองเท้าวิ่ง” google ก็จะแสดงผลการค้นหาที่เกี่ยวข้องกับรองเท้าวิ่ง มาหลายหน้า แต่ว่าลำดับของการค้นหานั้น จะเป็นไปตามการให้ความสำคัญของ search engine ที่เค้าเรียกว่า page ranking ซึ่งการทำ ranking นี้ เป็น algorithm ที่ซับซ้อนของ google ซึ่งเราไม่อาจรู้ได้
แต่อย่าเพิ่งตกใจไปว่า ความไม่รู้นี้ จะไม่ได้นำไปสู่อะไรเลย ในชีวิตนี้ก็มีสิ่งที่เราไม่รู้แน่ชัดมากมาย แต่เราก็พอจะคาดเดา และทำการสังเกตและทดลองได้
อย่างแรกเลยเราต้องเข้าใจว่า search result มีสองประเภทคือ
- Sponsor ซึ่งได้จากการซื้อ ads
- Organic Search คือ search result ที่ได้จากการ ranking ที่ให้ตรงกับใจของ user ให้มากที่สุด ในบทความนี้เราจะสนใจแค่เพียง organic search
ผมจะอธิบายแบบให้เข้าใจง่ายๆ ไม่ใช้ภาษา programmer นะครับ อย่างแรกเลย เราต้องคิดว่า เรากำลังเขียน content ให้ใครอ่าน ? แน่นอนคำตอบก็คือให้คนที่เราคาดว่าจะเป็นกลุ่มเป้าหมายของเราอ่าน … ถูกต้องครับ แต่ว่า เราอย่าลืมนะว่า google ไม่ได้ใช้คนมานั่งอ่าน content ของเรา google ใช้ web crawler มาไล่อ่าน เราก็ต้องเข้าใจว่าปัจจัยอะไรที่ทำให้ web crowler ทำความเข้าใจกับ content ของเราได้ง่ายขึ้น โดยผมจะสรุปให้เข้าใจง่ายๆ ดังต่อไปนี้
- Website เราต้องเร็ว ไม่ว่าจะ load ภาพ, load page หรือ load script เดี๋ยวผมจะมีบทความเกี่ยวกับ web optimization ตามมานะครับ
- จะต้องมีความปลอดภัย พูดง่ายๆคือสมัยนี้ก็ต้องเป็น https กันหมดแล้ว
- จะต้องเปิดดูง่ายๆ ใน mobile device นะครับ ไม่ว่าจะเป็น smart phone, tablet หรือที่เราจะได้ยินคำนี้บ่อยๆคือคำว่า web responsive design
- ข้อมูลใน web page จะต้องให้ประโยชน์กับผู้ค้นหา โดยส่วนนี้ ผมอยากให้เรานึกถึงสมัยเราเขียนเรียงความส่งการบ้านครูนะครับ โดยอย่างน้อยๆ จะต้องมีสิ่งสำคัญต่อไปนี้
- หัวเรื่อง ( Title ) ของ page นั้น จะต้องเกี่ยวข้องหรือมีคำที่สื่อให้เข้าใจว่าตรงกับสิ่งที่เราอยากรู้
- Meta data ต่างๆ ของ page ควรจะสื่อไปในทิศทางเดียวกัน อย่าเพิ่งตกใจว่ามันคืออะไร meta data ก็คือข้อมูลที่บรรยายเกี่ยวกับ page นั้นๆ เช่น description, keyword, การแสดงผลของหน้าจอ เป็นต้น โดยส่วนนี้ ให้คิดง่ายๆ ว่าเหมือนเราไปหาหนังสือในห้องสมุด เราเห็นชื่อหนังสือ ( title ) ที่ตรงกับสิ่งที่เราต้องการหาแล้ว เราก็อยากไปดู เรื่องย่อๆ ( description , excerpt, abtract ) ของหนังสือเล่มนั้น ว่าตรงกับใจเราไหม
- ส่วนเนื้อหาหลักของ page ( content body ) จะต้องตรงกับสิ่งที่ต้องการหา มีคำหลัก ( keyword ) ที่เกี่ยวข้อง เพราะอย่าลืมว่า search engine จะต้องทำการจัดลำดับว่า page ไหนตรงกับการค้นหาที่สุด แล้ว search engine จะมองจากอะไรละครับ เอาแบบง่ายๆ เลยก็ต้องหาจากความถี่จากคำที่เกี่ยวข้อง แต่อย่าพยายามทำ keyword หลอกนะครับ เพราะ google ไม่ได้โง่ ถ้าเค้าตรวจเจอ ranking ของเราก็จะตกลงไป เผลอๆ อาจจะโดนแบนทั้ง website เลยครับ ผมอยากให้เขียนบทความที่เป็นธรรมชาติ และสมเหตุสมผล เพราะเราก็ต้องเขียนให้คนอ่านด้วย เมื่อคนอ่านชอบเค้าก็จะส่งต่อให้คนอื่นที่เค้ารู้จัก หรือไม่ก็เอาไป share ใน social คนอื่นก็จะเห็น page ของเราอีกด้วย
- ภาพหรือวิดีโอ ( Photo, Video ) หรืออะไรก็ตามที่ไม่ใช่เนื้อหาตัวอักษร ( text ) ก็ทำให้เนื้อหาของเราน่าสนใจมากขึ้น และช่วยให้ทำความเข้าใจง่ายขึ้น แต่อย่าเอาแต่ภาพสวยอย่างเดียวนะครับ page ของเราก็ยังต้องโหลดได้เร็วด้วย
- มี link ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาด้วยก็จะดีมาก ไม่ว่าจะ link ไป website อื่น ( external link ) หรือ link อยู่ภายใน website ของเราเอง ( internal link ) ก็จะช่วยให้ web crawler ทำงานได้ง่ายขึ้นอีก
- พยายามทำ content ทั้ง website ให้ไปในแนวทางเดียวกัน คิดง่ายๆ ว่าสมมติว่ารถของเราเสีย เราก็ต้องการซ่อมรถใช่ไหมครับ เราก็ต้องไปอู่ซ่อมรถใช่ไหมครับ ไม่ได้ไปร้านขายขนมหวาน เพราะเราคาดหวังจะเจอช่างซ่อมรถที่อู่ซ่อมรถครับ มันก็เหมือนกันครับ คนที่ค้นหาอะไรสักอย่างใน internet เค้าก็มีทางเลือกมากมาย เราต้องทำตัวเองให้น่าเชื่อถือในเรื่องนั้นๆ พอคิดได้แบบนี้ web crawler ก็ถูกเขียนโดยมนุษย์ ( แต่ผมว่าคงมี ai เขียนบางส่วนแล้วมั้งครับ ) เค้าก็ต้องเขียนให้เลียนแบบพฤติกรรมของคนปกติเราๆ นี่แหละครับ
อยากจะสรุปให้เข้าใจกันง่ายๆ นะครับ อย่ามัวนั่งหาทางลัดต่างๆ เพื่อให้ google เจอ เช่นทำ title, keyword, description เพื่อหลอก google เพราะไม่เป็นผลดีในระยะยาว เราควรกลับมาที่พื้นฐานที่สุดคือ เนื้อหาต้องดีเป็นประโยชน์กับคนค้นหา พอเราออกแบบและสร้าง content นี้ได้แล้ว เราค่อยเอาส่วนต่างๆ ของ content มาวางลง html ใน tag ต่างๆ ที่เหมาะสม ข้อมูลพวกนี้หาได้ใน internet ครับ ทำอย่างไรก็ได้ให้ผู้ใช้งานสะดวกที่สุด web page ต้องเร็ว มีแต่สิ่งที่จำเป็นเท่านั้น เราก็รู้ๆ ว่าในหนึ่งวัน เราใช้ net มือถือมากกว่า wifi ที่บ้าน ความเร็วของ internet ก็เอาแน่เอานอนไม่ได้เลย และทีสำคัญเลยครับอย่าลืมถึงความปลอดภัยของ website โดยการใช้ https นะครับ
Related Posts
- Building an OCPP 1.6 Central System with Flask async, WebSockets, and MongoDB
- How AI Supercharges Accounting and Inventory in Odoo (with Dev Insights)
- Building a Fullstack E-commerce System with JavaScript
- Building Agentic AI with Python, Langchain, and Ollama for eCommerce & Factory Automation
- Diagnosing the Root Cause of P0420 with Python, OBD-II, and Live Sensor Data
- How to Apply The Mom Test to Validate Your Startup Idea the Right Way
- When to Choose Rasa vs Langchain for Building Chatbots
- Introducing OCR Document Manager: Extract Text from Documents with Ease
- Testing an AI Tool That Finds Winning Products Before They Trend — Interested?
- Your Website Is Losing Leads After Hours — Here’s the Fix
- How Agentic AI is Revolutionizing Smart Farming — And Why Your Farm Needs It Now
- How to Apply RAG Chatbot with LangChain + Ollama
- Automating EXFO Instruments with SCPI: A Practical Guide
- Design Patterns That Help Tame Legacy Code (With Python Examples)
- How to Safely Add New Features to Legacy Code — A Developer’s Guide
- Modernizing Legacy Software — Without Breaking Everything
- How OpenSearch Works — Architecture, Internals & Real-Time Search Explained
- Choosing the Right Strategy for Basic vs Premium Features in Django
- Transform Your Custom Furniture Business with a Modern eCommerce Platform
- Introducing simpliPOS: The Smart POS Built on ERPNext
Our Products
Related Posts
- Building an OCPP 1.6 Central System with Flask async, WebSockets, and MongoDB
- How AI Supercharges Accounting and Inventory in Odoo (with Dev Insights)
- Building a Fullstack E-commerce System with JavaScript
- Building Agentic AI with Python, Langchain, and Ollama for eCommerce & Factory Automation
- Diagnosing the Root Cause of P0420 with Python, OBD-II, and Live Sensor Data
- How to Apply The Mom Test to Validate Your Startup Idea the Right Way
- When to Choose Rasa vs Langchain for Building Chatbots
- Introducing OCR Document Manager: Extract Text from Documents with Ease
- Testing an AI Tool That Finds Winning Products Before They Trend — Interested?
- Your Website Is Losing Leads After Hours — Here’s the Fix
- How Agentic AI is Revolutionizing Smart Farming — And Why Your Farm Needs It Now
- How to Apply RAG Chatbot with LangChain + Ollama
- Automating EXFO Instruments with SCPI: A Practical Guide
- Design Patterns That Help Tame Legacy Code (With Python Examples)
- How to Safely Add New Features to Legacy Code — A Developer’s Guide
- Modernizing Legacy Software — Without Breaking Everything
- How OpenSearch Works — Architecture, Internals & Real-Time Search Explained
- Choosing the Right Strategy for Basic vs Premium Features in Django
- Transform Your Custom Furniture Business with a Modern eCommerce Platform
- Introducing simpliPOS: The Smart POS Built on ERPNext