5 ข้อ ที่เข้าใจผิดในการเขียน code
1. ต้องเป็นคนความจำดี
อันนี้ไม่จริงเลย จริงอยู่ความจำเป็นสิ่งสำคัญ แต่ความเข้าใจสำคัญกว่า และจากที่เขียน code เลี้ยงชีพมาหลายปี หลายๆ ครั้งก็ copy code มาจากตัวอย่าง แล้วเอามาแก้ไข แต่ผมไม่ได้หมายถึงว่า copy แนวคิดของ code ตัวอย่างนะ เราต้องทำการออกแบบ program ของเราเสียก่อน ว่ามันจะทำอย่างไร ด้วยวิธีการอย่างไร
2. ต้องเป็นคนเก่งเลขมากๆหรือฉลาดมากๆ
คือเลขจะใช้ต่อเมื่อเราต้องการ แก้ปัญหาที่ต้องใช้สูตรคณิตศาสตร์ หรือปัญหาที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่มีสูตรเช่น ฟิสิกซ์ เคมี เป็นต้น แต่โดยส่วนมากแล้ว program ที่เราเขียนมักจะใช้การออกแบบขั้นตอนการทำงานเสียมากกว่า และจะคำนึงถึงหน้าตา ( Graphic User Interface ) ของ program ที่ใช้งานง่าย เราไม่จำเป็นต้องฉลาดแต่แรก แต่เราสามารถเรียนรู้ได้ จากการสังเกต และประสบการณ์ ในทุกๆ วันที่เราลงมือเขียน code
3. ต้องมี computer แรงๆและแพงๆ
ข้อนี้ไม่จำเป็นเลย แต่ขอให้เลือก computer ที่มีหน้าจอชัดเจน รักษาสายตา ส่วนเรื่องความแรงคิดว่า แค่อยู่ในระดับค่อนข้างดี ที่มีขายอยู่ในตลาด ไม่จำเป็นต้องมีการ์ดจอแรงๆ ( ยกเว้นว่าเราจะเขียนเกี่ยวกับ graphic หนักๆ ) ส่วนเรื่อง RAM ถ้ามีเยอะๆก็จะดี เพราะช่วยให้ run program ได้เร็ว จะได้ไม่ขาดช่วง ทำให้เราเสียจังหวะ แต่ที่สำคัญควรทดลองเล่นก่อนที่จะซื้อ หรืออ่าน review จากหลายๆ ที่
4. ไม่จำเป็นต้องรู้หลายภาษาหรือยึดติดว่าภาษานั้นๆจะดีที่สุด
ไม่มีภาษาไหนที่ดีที่สุด ขึ้นอยู่กับว่ามันเหมาะสมกับงานของเราหรือไม่ และความถนัดของเราด้วย แต่ข้อดีที่ได้จากการเขียน code ได้หลายภาษาคือ เราจะได้เรียนรู้แนวคิดที่แตกต่างๆ กันไปในแต่ละภาษา ซึ่งจะมีรายละเอียดเล็กๆ น้อย ที่ช่วยให้เป็นเครื่องมือทางความคิดของเราเพิ่มขึ้น
5. ประสิทธิภาพของภาษามีผลอย่างมากต่อความเร็วของ program
จริงอยู่ถ้าเรานำ program ที่มีการทำงานเหมือนกัน แต่เขียนด้วยภาษาที่แตกต่างกันไป แล้วนำมาวัดเวลาในการทำงานของ program มันจะไม่เท่ากัน แต่มันจะแตกต่างกันในระดับ milli sec ซึ่งน้อยมาก ส่วนมากประสิทธิภาพของ program ที่ดี จะมาจาก กระบวนการแก้ปัญหา ( algorithm ) ที่แตกต่างกัน การออกแบบโครงสร้างข้อมูล ( data structure ) ที่เหมาะสม และการเรียกใช้ หรือ จัดเก็บข้อมูล ( data retrieval / store )
Articles
- デジタルコンパニオンを作る:日々の励ましと感情的な幸福を支えるボットの開発
- สร้างเพื่อนดิจิทัล: การสร้างบอทเพื่อกำลังใจและความเป็นอยู่ทางอารมณ์ในทุกๆ วัน
- Building a Digital Companion: Creating a Bot for Daily Encouragement and Emotional Well-being
- การเปลี่ยนโฉมการเกษตร: การติดตามสุขภาพพืชด้วย AI สำหรับเกษตรอัจฉริยะ
- Transforming Agriculture: AI-Driven Crop Health Monitoring for Smart Farming
- การสร้างฟีเจอร์การทำงานแบบออฟไลน์สำหรับแอปชาร์จรถ EV: คู่มือการใช้งาน Python
- Building Offline Support for EV Charging Apps: A Python Guide
- การอ่านโค้ดโมดูลขายของ Odoo โดยใช้ Code2Flow
- Code Reading Odoo’s Sales Module Using Code2Flow
- การพัฒนา API ประสิทธิภาพสูงสำหรับการทำฟาร์มทุเรียนในจันทบุรี ประเทศไทย: การเลือก Framework Python และ MongoDB ที่เหมาะสม
- High-Performance API Development for Durian Farming in Chanthaburi, Thailand: Choosing the Right Python Framework with MongoDB
- การเปรียบเทียบคุณสมบัติและความซับซ้อนของ ERPNext และ Odoo
- Comparing Features and Complexity of ERPNext and Odoo
- 用AR增强电商体验:移动应用中的3D产品预览指南
- 「ARでeコマースを強化:モバイルアプリにおける3D商品プレビューのガイド」
- เพิ่มประสบการณ์อีคอมเมิร์ซด้วย AR: คู่มือการแสดงสินค้าด้วย 3D บนแอปมือถือ
- Enhancing E-Commerce with AR: A Guide to 3D Product Previews in Mobile Apps
- วิธีสร้างระบบ ERP สำหรับการผลิตรถยนต์โดยใช้ Django, Docker Compose, PostgreSQL และ DRF สำหรับ API
- How to Create an ERP System for Car Manufacturing Using Django, Docker Compose, PostgreSQL, and DRF for API
- การปลูกทุเรียนด้วย IoT, ไมโครคอนโทรลเลอร์, LoRa, และ Python
Our Products
Articles
- デジタルコンパニオンを作る:日々の励ましと感情的な幸福を支えるボットの開発
- สร้างเพื่อนดิจิทัล: การสร้างบอทเพื่อกำลังใจและความเป็นอยู่ทางอารมณ์ในทุกๆ วัน
- Building a Digital Companion: Creating a Bot for Daily Encouragement and Emotional Well-being
- การเปลี่ยนโฉมการเกษตร: การติดตามสุขภาพพืชด้วย AI สำหรับเกษตรอัจฉริยะ
- Transforming Agriculture: AI-Driven Crop Health Monitoring for Smart Farming
- การสร้างฟีเจอร์การทำงานแบบออฟไลน์สำหรับแอปชาร์จรถ EV: คู่มือการใช้งาน Python
- Building Offline Support for EV Charging Apps: A Python Guide
- การอ่านโค้ดโมดูลขายของ Odoo โดยใช้ Code2Flow
- Code Reading Odoo’s Sales Module Using Code2Flow
- การพัฒนา API ประสิทธิภาพสูงสำหรับการทำฟาร์มทุเรียนในจันทบุรี ประเทศไทย: การเลือก Framework Python และ MongoDB ที่เหมาะสม
- High-Performance API Development for Durian Farming in Chanthaburi, Thailand: Choosing the Right Python Framework with MongoDB
- การเปรียบเทียบคุณสมบัติและความซับซ้อนของ ERPNext และ Odoo
- Comparing Features and Complexity of ERPNext and Odoo
- 用AR增强电商体验:移动应用中的3D产品预览指南
- 「ARでeコマースを強化:モバイルアプリにおける3D商品プレビューのガイド」
- เพิ่มประสบการณ์อีคอมเมิร์ซด้วย AR: คู่มือการแสดงสินค้าด้วย 3D บนแอปมือถือ
- Enhancing E-Commerce with AR: A Guide to 3D Product Previews in Mobile Apps
- วิธีสร้างระบบ ERP สำหรับการผลิตรถยนต์โดยใช้ Django, Docker Compose, PostgreSQL และ DRF สำหรับ API
- How to Create an ERP System for Car Manufacturing Using Django, Docker Compose, PostgreSQL, and DRF for API
- การปลูกทุเรียนด้วย IoT, ไมโครคอนโทรลเลอร์, LoRa, และ Python